เช neverdie wrote:ผมอายุยังไม่ถึงยี่สิบดี รีบเข้ามาตอบ
รัฐมนตรีที่ลงนามขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศชื่ ทนง พิทยะ
รองนายกรัฐมนตรีที่ดูแลด้านนี้ชื่อ ทักษิน ชินวัตร
นายกรัฐมนตรีที่ทำเศรษฐกิจชาติพังชื่อ ชวลิต ยงใจยุทธ
ผมเพิ่มเกล็ดเล็กเกล็ดน้อยให้ ถามว่าเมื่อท่านวิจิตร สุพินิจ เกษียนจากแบ็งค์ชาติในยุคนั้น
จิ๋วตั้งใครมาเป็นผู้ว่าแบ็งค์ชาติ จนทำให้เศรษฐกิจชาติพัง
ไม่เข้าเงื่อนไขamplepoor wrote:
ขอบริจาคความรู้จากน้องๆ วัยยี่สิบกว่าๆ ที่น่ารัก
เช neverdie wrote:ผมอายุยังไม่ถึงยี่สิบดี รีบเข้ามาตอบ![]()
![]()
![]()
รัฐมนตรีที่ลงนามขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศชื่ ทนง พิทยะ
รองนายกรัฐมนตรีที่ดูแลด้านนี้ชื่อ ทักษิน ชินวัตร แต่ชิงลาออกไปก่อนกู้เงินไอเอ็มเอฟ 3 วัน
นายกรัฐมนตรีที่ทำเศรษฐกิจชาติพังชื่อ ชวลิต ยงใจยุทธ หัวหน้าพรรคความหวังใหม่
ผมเพิ่มเกล็ดเล็กเกล็ดน้อยให้ ถามว่าเมื่อท่านวิจิตร สุพินิจ เกษียนจากแบ็งค์ชาติในยุคนั้น
จิ๋วตั้งใครมาเป็นผู้ว่าแบ็งค์ชาติ จนทำให้เศรษฐกิจชาติพัง
pulom02 wrote:จำได้ว่าเคย20นะ![]()
![]()
กอ๊ปมาให้อ่านอย่าว่ากันละเพราะจบปุ๊บตกงานปั๊บสมัยนั้นเลย![]()
![]()
pulom02 wrote:จำได้ว่าเคย20นะ![]()
![]()
กอ๊ปมาให้อ่านอย่าว่ากันละเพราะจบปุ๊บตกงานปั๊บสมัยนั้นเลย![]()
![]()
pulom02 wrote:แถมมีคำถามน่าสนใจตามมา![]()
การที่ ทักษิณ ชินวัตร ตัดสินใจใช้หนี้ก่อนถึงกำหนด 2 ปี มีผลดี หรือ ผลเสีย กันแน่ถ้าใช้หลักทางเศรษฐศาสตร์
ในปี 2546 ดอกเบี้ยเงินฝากภายในประเทศเฉลี่ยปีละ 8% ในขณะที่IMF คิดดอกเบี้ยจากเราแค่ 0.25% และอีกประการหนึ่งที่สำคัญคือ ถ้าจ่ายหนี้ก่อนกำหนด ต้องเสียค่าปรับอีก 2%
ถ้าตอนนั้น เรามีเงิน 4800 ล้านเหรียญ แปลงเป็นเงินไทย อัตราแลกเปลี่ยนตอนนั้น 41 บาทต่อดอล่าร์ คิดเป้นเงินไทย 196,800 ล้านบาท เอาฝากธนาคารไว้ 2ปี หักภาษีแล้วจะได้ ดอกเบี้ย ประมาณ 28000 ล้านบาท และ เสียดอกเบี้ยให้ IMF 2ปี จำนวน 984 ล้านบาท คงเหลือกำไร กว่า 27000 ล้านบาท
แต่ ทักษิณ เลือกที่จะใช้หนี้ก่อน ผลคือ เราเสียค่าปรับ 2% จำนวน 3936 ล้านบาท ลดดอกเบี้ย 2ปีลงได้ 984 ล้านบาท ถ้าเอาค่าปรับที่เสีย ลบด้วยดอกเบี้ยที่ไม่ต้องจ่าย จะเหลือ ค่าปรับ 2952ล้านบาท
คำถามก็คือ ถ้า ณ.วันนั้น ประเทศเรามีเงินสด 4800 ล้านเหรียญ หรือ 196,800 ล้านบาท เรายังไม่ชำระหนี้ แต่ฝากในธนาคารไว้เราจะได้ดอกเบี้ย เพิ่มขึ้นฟรีๆประมาณ 27000ล้านบาท แต่ถ้าเราชำระหนี้ก่อนกำหนด เราต้องเสียเงินเพิ่มอีก 2952 ล้านบาท
คำถามก็คือ ประเทศได้อะไร จากการตัดสิ้นใจครั้งนี้ จะว่า เพราะทำให้ประเทศพ้นจากหนี้สิน แต่เมื่อไปดูข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย กลับปรากฏว่า เงินจำนวน4800ล้านเหรียญ ที่ ทักษิณ ชำระหนี้นั้น ส่วนหนึ่ง กลับเป็นเงินกู้จาก เอ ดี บี และเมื่อดูหนี้ สาธารณะของประเทศ ณ.ปี 2546 หลังจากจ่ายเงินคืน IMF หมดแล้ว กลับเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับหนี้สาธารณะช่วงปลายรัฐบาล ชวน2 ส่งไม้ให้กับ รัฐบาล ทักษิณ1 ถึงกว่า4000ล้าน
คำถามที่คาใจจริงๆคือ หนี้สินของประเทศไทยไม่ได้ลดลงจากการใช้หนี้IMF แล้ว ทักษิณ ไปกู้ เอดีบี มาเพื่อใช้หนี้ IMF ทำไม
อีกคำถามหนึ่งคือ ทักษิณ ประกาศให้ชาวบ้านรู้กันทั้วว่า เขาเป็นคนใช้หนี้IMF ทั้งๆ ตอนไปเบิกเงินกู้ก้อนที่1 และก้อนที่2 เขาเป็นรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลชวลิต และการที่ใช้หนี้ก่อนกำหนด ประเทศต้องเสียค่าปรับตั้ง2%ซึ่งเป็นเงินถึง 3636 ล้านบาท
amplepoor wrote:pulom02 wrote:จำได้ว่าเคย20นะ![]()
![]()
กอ๊ปมาให้อ่านอย่าว่ากันละเพราะจบปุ๊บตกงานปั๊บสมัยนั้นเลย![]()
![]()
เป็นข้ออ้างที่มิอาจโต้แย้ง.....ฮา
ผมจะไม่ถามต่อละนะ ว่าเคยมานานหรือยัง
รออ่านจ้า
pulom02 wrote:กระทู้นี้จะขอเอาข้อเท็จจริงเรื่องเงินกู้ IMF มาบอกกับเพื่อนๆว่า สิ่งที่ทักษิณ ชินวัตร โฆษณาชวนเชื่อไว้ ในข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร
เมื่อรัฐบาลชวลิต ถูก จอร์ช โซลอส โจมตีเรื่องค่าเงินบาท และรัฐบาลได้เอาเงินบาทไปสู้แล้วพ่ายแพ้ จนเงิยสำรองเหลือเพียง 800ล้านดอลล่าร์ รัฐบาลชวลิตจึงมีความจำเป็นต้องหาเงินตราต่างประเทศเพิ่มขึ้น จึงจำเป็นต้องขอกู้เงิน จาก IMF ซึ่งในสัญญาที่ทำระหว่าง รัฐบาล ชวลิต กับ IMF จำนวนเงินที่ขอกู้ 17200 ล้านดอลล่าร์ ต่อมา รัฐบาล ชวลิต โดนแรงกดดันอย่างหนัก เกิด ม็อบ สีลม จึงต้อง ลาออกไป
รัฐบาลที่เข้ามาบริหารประเทส ต่อคือ รัฐบาลชวน หลีกภัย เมื่อเข้ามาบริหารประเทศได้ขอเบิกเงินจากสัญญาเงินกู้ 14000 ล้านดอลล่าร์(เบิกน้อยกว่าจำนวนที่ทำสัญญา 3200ล้านดอล่าร์) เมื่อได้เข้ามาบริหารประเทศ รัฐบาลชวน ได้ทะยอย ใช้หนี้ ตั้งแต่ปี 2541-2543 เป็นเวลา 3 ปี จำนวนเงินที่ใช้หนี้ไปทั้งสิ้น 9200 ล้านดอลล่าร์
ต่อมา เป็นรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร ได้ตัดสินใจใช้หนี้ส่วนที่เหลือทั้งหมด ในปี 2546 จำนวนเงิน 4800 ล้านดอลล่าร์ โดยแบ่งจ่ายเป็น 3 งวดๆละ 1600 ล้าน ดอลล่าร์ รัฐบาลทักษิณ ใช้เวลา บริหาร 2544-2546 เป็นเวลา3ปี ใช้หนี้IMFส่วนที่เหลือ 4800 ล้านดอลล่าร์
ถ้าเอาข้อมูลแวดล้อมและจำนวนเงินที่ใช้หนี้เงินกู้ IMF ระหว่างรัฐบาล ชวน หลีกภัย กับ รัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร แล้ว ตอนที่ รัฐบาลชวนเข้ามา จีดีพี ของไทย ติดลบ และเมื่อ รัฐบาลชวน ส่งมอบให้ รัฐบาล ทักษิณ นั้น จีดีพี เป็นบวก อยู่ที่4.92
เมื่อมองทั้งค่าความยาก และจำนวนเงินที่ใช้หนี้ ในระยะเวลา 3ปี เท่ากันแล้ว เรื่อง IMF รัฐบาล ชวน ทำได้ดีกว่า รัฐบาล ทักษิณ
หากเปรียบเทียบข้อมูลที่แท้จริงแล้ว เพื่อนๆลองตรองดูครับว่า เรื่องเงินกู้IMF กับ สิ่งที่ ทักษิณ โฆษณาชวนเชื่อว่า เขาเป็นผู้ใช้หนี้IMF ซึ่งเจตนา เหมือนกับว่า คนอื่นกู้ แต่เขาเป็นผู้ใช้หนี้ให้กับประเทศแต่ผู้เดียว มันถูกต้องชอบธรรมหรือไม่
เครดิตhttp://www.cmprice.com/forum/?content=detail&wb_type_id=1&topic_id=43618
นั่นสิเช neverdie wrote:pulom02 wrote:จำได้ว่าเคย20นะ![]()
![]()
กอ๊ปมาให้อ่านอย่าว่ากันละเพราะจบปุ๊บตกงานปั๊บสมัยนั้นเลย![]()
![]()
แบบนี้คงจำฝังใจ แค้นฝังหุ่น ตั้งตัวไม่ทันเลย
![]()
![]()
เช neverdie wrote:
โกงอะไรกัน ผมเพิ่งจะยี่สิบต้นๆ
ปล. ผ่านคิวซีด้วยครับ![]()
![]()
puggi wrote:มาตอบคำถามน้าเช ว่าผุ้ว่าแบงค์ชาติ คนนั้นชื่่อ เริงชัย มะระกานัน (มั้ง)
โดยมี รองผู้ว่า วินนี่ เดอะปุ๊ อีกท่านด้วย
ปล ตอนนู้นตัดสินใจเลือกเรียน สาขาการเงิน ตอนมหาลัยปี สาม พอดี เลือกปุ้บ พอสบู่แตกปั้บยังเอ๊าะๆอยู่
puggi wrote:มาตอบคำถามน้าเช ว่าผุ้ว่าแบงค์ชาติ คนนั้นชื่่อ เริงชัย มะระกานัน (มั้ง)
โดยมี รองผู้ว่า วินนี่ เดอะปุ๊ อีกท่านด้วย
ปล ตอนนู้นตัดสินใจเลือกเรียน สาขาการเงิน ตอนมหาลัยปี สาม พอดี เลือกปุ้บ พอสบู่แตกปั้บยังเอ๊าะๆอยู่
ปุถุชน wrote:puggi wrote:มาตอบคำถามน้าเช ว่าผุ้ว่าแบงค์ชาติ คนนั้นชื่่อ เริงชัย มะระกานัน (มั้ง)
โดยมี รองผู้ว่า วินนี่ เดอะปุ๊ อีกท่านด้วย
ปล ตอนนู้นตัดสินใจเลือกเรียน สาขาการเงิน ตอนมหาลัยปี สาม พอดี เลือกปุ้บ พอสบู่แตกปั้บยังเอ๊าะๆอยู่
นายชัยวัฒน์ ทำงานที่ธนาคารแห่งประเทศไทยรวม 25 ปี ได้เป็น ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2540- พ.ศ. 2541 เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (รักษาการ) ในปี พ.ศ. 2539 และช่วยงานบริหารนโยบายเศรษฐกิจให้กับรัฐบาลหลายชุด
นอกจากนั้นยังทำงานด้านการเงินการธนาคาร ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหารของธนาคารกรุงไทย ( 2547-2553) และเป็นรองประธานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ( 2549-2551)
รายชื่อผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
นายวิจิตร สุพินิจ 1 ตุลาคม 2533 - 1 กรกฎาคม 2539
นายเริงชัย มะระกานนท์ 13 กรกฎาคม 2539 - 28 กรกฎาคม 2540
นายชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ 31 กรกฎาคม 2540 - 4 พฤษภาคม 2541
หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล 7 พฤษภาคม 2541 - 30 พฤษภาคม 2544
หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล 31 พฤษภาคม 2544 - 7 ตุลาคม 2549
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%98% ... 7%E0%B8%A2
"เริงชัย มะระกานนท์"ไม่ได้มาจากสายบริหารธนาคารแห่งประเทศไทย จับพลัดจับผลูมาเป็นผู้ว่าฯ....
ว่ากันว่า...
ช่วงเวลานั้น"ชัยวัฒน์"น่าจะมีความเข้าใจมากกว่า แต่ไม่ได้ให้คำแนะหรือคำปรึกษาที่ดี.....
เช neverdie wrote:
เมื่อไหร่ที่ ดร.ประสานโดนเด้ง ก็ถือว่าเป้นสัญญาณชัดเจนของการเข้าโจมตีค่าเงินประเทศตัวเองใหม่อีกรอบของกองทุนแม้วครับ