
Muupan Tang
เรื่องเงินสำรองนั้น ที่เพิ่มขึ้นเพราะมีกฏหมายเพิ่มเงินสำรวมระหว่างประเทศ เป็นสัดส่วนต่อ GDP ที่มากขึ้น (จากภาพเป็นมูลค่าที่ยังไม่หักเงินเฟ้อ) จึงไม่ใช่ตัวชี้วัดที่ดี สิ่งที่เป็นตัวชี้วัดทางศก.ได้คือ บัญชีดุล, GDP,เงินคงคลัง,บัญชีหนี้สาธารณะ ซึ่งปัจจุบันพบว่าในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีสภาพที่ย่ำแย่ลง หนี้สาธารณะสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ GDP ยังมีการเติบโตอยู่ แต่โตน้อยกว่าประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ และเมื่อแยกเป็นsectorแล้วก็มีการกระจุกตัวอยู่เฉพาะสาขาเท่านั้น ยิ่งทำให้ช่องว่างทางสังคมสูงขึ้น
ส่วนหนี้สาธารณะที่บอกเยอะคือเยอะมากกว่าเดิมจริง แต่เราต้องแบ่งว่าเราไปเปรียบเทียบกับประเทศพัฒนาแล้วไม่ได้ เพราะมันขึ้นอยู่กับ"ความสามารถในการใช้หนี้"ด้วย เช่นเดียวกับGDP ที่เราไม่สามารถใช้เป็นมาตรในการวัดระหว่างประเทศพัฒนาแล้วกับประเทศกำลังพัฒนาได้ เพราะอัตราการโตนั้นไม่เท่ากันอยู่แล้ว ของประเทศพัฒนาแล้วจะค่อนข้างคงตัว เพิ่มก็เพิ่มไม่มาก บางประเทศลดลง เพราะ๑.การถดถอยของจำนวนประชากร ๒.การย้ายฐานการผลิต ,แหล่งทำงาน ทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศลดลง แต่ไม่ได้แปลงว่ารายได้ประชาชาติจะลดลงเสมอไป....ทั้งนี้ยังไม่ได้พิจารณาการลงทุนระหว่างรัฐ ในตราสารประเภทต่างๆ อย่างญี่ปุ่นหรือจีนนั้นก็มีการลงทุนในตราสารหนี้ของรัฐบาลประเทศต่างๆไว้เพียบ ดิฉันว่าคุณกำลังจับแพะชนแกะอยู่รึเปล่าคะเนี่ย
แดง ขาว น้ำเงิน wrote:Muupan Tang
เรื่องเงินสำรองนั้น ที่เพิ่มขึ้นเพราะมีกฏหมายเพิ่มเงินสำรวมระหว่างประเทศ เป็นสัดส่วนต่อ GDP ที่มากขึ้น (จากภาพเป็นมูลค่าที่ยังไม่หักเงินเฟ้อ) จึงไม่ใช่ตัวชี้วัดที่ดี สิ่งที่เป็นตัวชี้วัดทางศก.ได้คือ บัญชีดุล, GDP,เงินคงคลัง,บัญชีหนี้สาธารณะ ซึ่งปัจจุบันพบว่าในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีสภาพที่ย่ำแย่ลง หนี้สาธารณะสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ GDP ยังมีการเติบโตอยู่ แต่โตน้อยกว่าประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ และเมื่อแยกเป็นsectorแล้วก็มีการกระจุกตัวอยู่เฉพาะสาขาเท่านั้น ยิ่งทำให้ช่องว่างทางสังคมสูงขึ้น
ส่วนหนี้สาธารณะที่บอกเยอะคือเยอะมากกว่าเดิมจริง แต่เราต้องแบ่งว่าเราไปเปรียบเทียบกับประเทศพัฒนาแล้วไม่ได้ เพราะมันขึ้นอยู่กับ"ความสามารถในการใช้หนี้"ด้วย เช่นเดียวกับGDP ที่เราไม่สามารถใช้เป็นมาตรในการวัดระหว่างประเทศพัฒนาแล้วกับประเทศกำลังพัฒนาได้ เพราะอัตราการโตนั้นไม่เท่ากันอยู่แล้ว ของประเทศพัฒนาแล้วจะค่อนข้างคงตัว เพิ่มก็เพิ่มไม่มาก บางประเทศลดลง เพราะ๑.การถดถอยของจำนวนประชากร ๒.การย้ายฐานการผลิต ,แหล่งทำงาน ทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศลดลง แต่ไม่ได้แปลงว่ารายได้ประชาชาติจะลดลงเสมอไป....ทั้งนี้ยังไม่ได้พิจารณาการลงทุนระหว่างรัฐ ในตราสารประเภทต่างๆ อย่างญี่ปุ่นหรือจีนนั้นก็มีการลงทุนในตราสารหนี้ของรัฐบาลประเทศต่างๆไว้เพียบ ดิฉันว่าคุณกำลังจับแพะชนแกะอยู่รึเปล่าคะเนี่ย
เธอว์ว่าอย่างนี้ ท่านๆ ว่าอย่างไร
Torres_No9 wrote:ดังใหญ่ละท่านทั้งหลายที่รวบๆข้อมูล Team-Korn เอาตารางของ Team-Ku ในนี้ไปลงใน FB ด้วยน๊าเนี๊ยะ ++
PinkDevil wrote:
ขอยกประเด็นเฉพาะการเปรียบเทียบหนี้สาธารณะกับประเทศที่พัฒนาแล้วส่วนรายละเอียดเรื่องหนี้สาธารณะได้อธิบายไปแล้วในหน้าแรก
ในการเปรียบเทียบหนี้สาธารณธระหว่างประเทศสองประเทศ โดยปกติจะไม่ใช้ยอดหนี้รวมหรือ gross term เพราะว่าขนาดเศรษฐกิจ และค่าเงินที่แตกต่างกัน แต่จะใช้สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ในการเปรียบเทียบ ซึ่งจากตัวเลขที่ได้ยกมาและที่คุณ Mahasura ได้จัดทำเป็นแผนภูมิก็แสดงให้เห็นว่าสัดส่วนหนี้สาธารณะของไทยต่อ GDP ที่ปัจจุบันอยู่ที่ประมาณร้อยละ 45 น้อยกว่าประเทศพัฒนาแล้วในยุโรปหลายๆประเทศด้วยซ้ำ และถ้ายิ่งเปรียบเทียบกับสมัยทักษิณ ยกเว้นปี 2549 (ซึ่งเป็นปีสุดท้ายเพียงปีเดียว) สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP สูงกว่ารัฐบาลอภิสิทธิ์ทุกปี (ประเด็นเรื่องหนี้ IMF ได้อธิบายแล้วในหน้าแรกถ้าสงสัยกลับไปอ่านได้) ส่วนความสามารถในการใช้หนี้ นั้นโดยปกติจะพิจาณาจากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP
สำหรับประเด็นที่บอกว่าไม่สามารถเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้วนั้น คนที่ยกประเด็นนี้ต้องอธิบายว่าทำไม่ได้ ไม่ใช่มาบอกด้วนๆว่าไม่ได้โดยไม่มีเหตุผลประกอบ หรือว่าไม่ได้เพราะถ้าเปรียบเทียบแล้วจะทำให้วาทกรรมดีแต่กู้ที่พรรคเพื่อไทยสร้างขึ้นมาเป็นเพียงเรื่องโกหกใส่ร้าย
psapsa wrote:ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆ ครับ แต่สงสัยนิดนึงตรงข้อมูลตัวเดียวกันของคุณ zereza กับ คุณ MahaAsura หลายตัวไม่ตรงกัน เช่น ตัวเลขส่งออกปี 53 5.85 กับ 6.17 ล้านล้านบาท ถ้าผมดูผิดไปกรุณาแนะนำด้วยครับ
baezae wrote:psapsa wrote:ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆ ครับ แต่สงสัยนิดนึงตรงข้อมูลตัวเดียวกันของคุณ zereza กับ คุณ MahaAsura หลายตัวไม่ตรงกัน เช่น ตัวเลขส่งออกปี 53 5.85 กับ 6.17 ล้านล้านบาท ถ้าผมดูผิดไปกรุณาแนะนำด้วยครับ
คิดว่าน่าจะต่างกันเพราะช่วงเวลาในการประเมินครับ
บางหน่วยงานประเมินตอนสิ้นไตรมาส ๔ บางหน่วยงานประเมินตอน ธ.ค. บางหน่วยงานประเมินกลางปี ขึ้นอยู่กับแหล่งที่นำข้อมูลมาครับ
อย่างข้อมูลธนาคารโลก กับ imf บางทีก็จะคลาดเคลื่อนกันนิดหน่อยเป็นทศนิยมแบบนี้ครับ
คนบาป wrote:วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์
Torres_No9 wrote:มานั่งดูตารางที่อันบนสุดตัวเลข GDP ของเราในตารางไม่มีปีไหนติดลบ
GDP ปี 2552 เราติดลบ 2.3% อยากทราบสาเหตุที่มาของการติดลบนิดนึงครับ
ท่านใดมีข้อมูลแชร์หน่อยครับ ขอบคุณครับ ++
ปล. คิดถึงคุณคลำปมจัง หลังจากอ่านข้อมูลในกระทู้นี้ ++
Torres_No9 wrote:คนบาป wrote:วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์
อันนั้นทราบอยู่ครับ เพราะวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์มันตั้งแต่ปี 2551
แต่อยากรู้ข้อมูลเปรียบเทียบประเทศอื่นๆ ว่าเค้ามีอัตราตัวเลข
ในช่วงปี 2552 กันนั้นเป็นยังไงกันบ้างอ่ะครับ![]()
![]()
มะแอศิษย์บังโม wrote:ทักษิณ 6 ปี กับ ม๊ากนาซี 2 ปี ใครกู้มากกว่ากัน
กู้น้อยกว่า แถมมีเงินจ่ายคืนไอเอ็มเอฟหมดก่อนสัญญา
viewtopic.php?f=2&t=35997
MahaAsura wrote:ผมเข้าใจตามที่ คุณ baezae ตอบนะครับ
ซี่งไม่แน่ใจว่า ข้อมูลตั้งแต่ปี 43-52 ดูเหมือนคุณ baezae จะขอใช้ข้อมูลจากของผมนะครับ
ส่วน 53 น่าจะหามาเพิ่ม ซี่งมาจากคนละหน่วยงานที่ใช้เวลาการประเมินคนละช่วงเวลา
สำหรับ แหล่งข้อมูลที่ผมอ้างอิง มาจากธนาคารแห่งประเทศไทยนะครับ ตารางแรก [ EC_XT_001 : สินค้าออกและสินค้าเข้าจำแนกตามกลุ่มสินค้า ]
ดู sheet Yearly นะครับ
http://www.bot.or.th/Thai/Statistics/Ec ... Trade.aspx
baezae wrote:psapsa wrote:ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆ ครับ แต่สงสัยนิดนึงตรงข้อมูลตัวเดียวกันของคุณ zereza กับ คุณ MahaAsura หลายตัวไม่ตรงกัน เช่น ตัวเลขส่งออกปี 53 5.85 กับ 6.17 ล้านล้านบาท ถ้าผมดูผิดไปกรุณาแนะนำด้วยครับ
คิดว่าน่าจะต่างกันเพราะช่วงเวลาในการประเมินครับ
บางหน่วยงานประเมินตอนสิ้นไตรมาส ๔ บางหน่วยงานประเมินตอน ธ.ค. บางหน่วยงานประเมินกลางปี ขึ้นอยู่กับแหล่งที่นำข้อมูลมาครับ
อย่างข้อมูลธนาคารโลก กับ imf บางทีก็จะคลาดเคลื่อนกันนิดหน่อยเป็นทศนิยมแบบนี้ครับ
Jeh_Pen wrote:จากตารางนี้
ผมเอาไปให้เสื้อแดงบางคนดู เค้าเถียงกลับมาว่า ตั้งแต่ 43 ถึง 51 หนี้สาธารณะลดลงมาเรื่อยๆ หมายความยังไง
แต่พอหลังปี 51 กลับเพิ่มขึ้น หมายความว่าไง
Jeh_Pen wrote:จากตารางนี้
ผมเอาไปให้เสื้อแดงบางคนดู เค้าเถียงกลับมาว่า ตั้งแต่ 43 ถึง 51 หนีสาธารณะลดลงมาเรื่อยๆ หมายความยังไง
แต่พอหลังปี 51 กลับเพิ่มขึ้น หมายความว่าไง